แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ กลุ่มสาระภาษาไทย
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1.พูดเล่าเรื่องได้(เล่านิทานกะเหรี่ยง)
2.ลำดับเรื่องที่เล่าได้
เนื้อหาสาระ
1. ความหมายของการพูดเล่าเรื่อง
2. หลักการพูดเล่าเรื่อง
3. มารยาทในการพูดเล่าเรื่อง
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำ
1.นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน
ขั้นสอน
1.ศึกษาใบความรู้เรื่อง หลักการพูด
2.สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการพูดเล่าเรื่อง ต้องลำดับเนื้อเรื่องไม่ให้สับสน ใช้กิริย่าท่าทางประกอบให้เหมาะสม เลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมกับเรื่อง
3.แบ่งกลุ่ม 9 กลุ่ม ส่งตัวแทนออกมาเล่านิทานกะเหรี่ยง กลุ่มละ 1 เรื่องไม่ให้ซ้ำกันกลุ่มละ 5 -8 นาที
4.เมื่อครบทุกกลุ่มแล้ว ครูนักเรียนร่วมกันเสนอแนะ วิจารณ์การพูดของแต่ละกลุ่ม
5.จดบันทึกสรุปความรู้การพูดเล่าเรื่อง
ขั้นสรุป
1.นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
การประเมินผล
1. สังเกตจากการเล่าเรื่อง
2. ทดสอบก่อนและหลังเรียน
สื่อการเรียนรู้
1. สื่อบุคคล
-วิทยากรท้องถิ่น
-ภูมิปัญญาชาวบ้าน
2. สื่อสถานที่
-หมู่บ้านกะเหรี่ยง
3. สื่อวัสดุ/เอกสาร
-แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
4. สื่อ ICT
-แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
1.พูดเล่าเรื่องได้(เล่านิทานกะเหรี่ยง)
2.ลำดับเรื่องที่เล่าได้
เนื้อหาสาระ
1. ความหมายของการพูดเล่าเรื่อง
2. หลักการพูดเล่าเรื่อง
3. มารยาทในการพูดเล่าเรื่อง
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำ
1.นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน
ขั้นสอน
1.ศึกษาใบความรู้เรื่อง หลักการพูด
2.สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการพูดเล่าเรื่อง ต้องลำดับเนื้อเรื่องไม่ให้สับสน ใช้กิริย่าท่าทางประกอบให้เหมาะสม เลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมกับเรื่อง
3.แบ่งกลุ่ม 9 กลุ่ม ส่งตัวแทนออกมาเล่านิทานกะเหรี่ยง กลุ่มละ 1 เรื่องไม่ให้ซ้ำกันกลุ่มละ 5 -8 นาที
4.เมื่อครบทุกกลุ่มแล้ว ครูนักเรียนร่วมกันเสนอแนะ วิจารณ์การพูดของแต่ละกลุ่ม
5.จดบันทึกสรุปความรู้การพูดเล่าเรื่อง
ขั้นสรุป
1.นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
การประเมินผล
1. สังเกตจากการเล่าเรื่อง
2. ทดสอบก่อนและหลังเรียน
สื่อการเรียนรู้
1. สื่อบุคคล
-วิทยากรท้องถิ่น
-ภูมิปัญญาชาวบ้าน
2. สื่อสถานที่
-หมู่บ้านกะเหรี่ยง
3. สื่อวัสดุ/เอกสาร
-แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
4. สื่อ ICT
-แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและศึกษาสมุนไพรชาวกะเหรี่ยงที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
2. นักเรียนสร้างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรได้อย่างน้อย 1 ชนิด
เนื้อหาสาระ
1. สมุนไพรชาวกะเหรี่ยง
2. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสมุนไพร
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
2. ครูนำพืชสมุนไพรบางชนิดมาให้นักเรียนศึกษา
3. นักเรียนช่วยกันแยกพืชสมุนไพรออกเป็นประเภทต่าง ๆ โดยจัดเป็นกลุ่ม ๆ ของพืชสมุนไพร
4.สุ่มนักเรียน 5 คนในห้องออกมาอภิปรายเกี่ยวกับประโยชน์ของพืชสมุนไพร
ขั้นกิจกรรม
1. นักเรียนแบ่งกลุ่มละ4 คน เพื่อศึกษาพืชสมุนไพรในหมู่บ้านกะเหรี่ยงที่ตนอาศัยอยู่อย่างน้อยกลุ่มละ 20 ชนิด
2. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพืชสมุนไพรจากห้องสมุดหรือทางอินเตอร์เน็ต
3. นักเรียนทุกกลุ่มนำเสนอผลงานจากการศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพืชสมุนไพรหน้าชั้นเรียน
4. นักเรียนทุกกลุ่มนำเสนอผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรกลุ่มละ 1 ชนิด
5. นักเรียนชมผลงานผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรจากกลุ่มอื่น ๆ
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพืชสมุนไพรที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวันของชาวกะเหรี่ยง
2. นักเรียนแสดงผลงานผลิตภัณฑ์ของพืชสมุนไพรกลุ่มละ 1 ชนิด
แหล่งการเรียนรู้
1. สือบุคคล
-ชาวกะเหรี่ยงในอำเภอสวนผึ้ง
2. สื่อเอกสาร
-หนังสือพืชสมุนไพร
-แบบสอบถามเกี่ยวกับพืชสมุนไพร
-เครื่องมือประเมินผล
3. สื่อสถานที่
-หมู่บ้านชาวกะเหรี่ยง
-หมู่บ้านนักเรียนที่มีชาวกะเหรี่ยงอาศัยอยู่
-ศูนย์ศึกษาพันธุ์ไม้ป่าสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
4. สื่อ ICT
-ห้องอินเตอร์เน็ตในโรงเรียน
แหล่งเรียนรู้
1. ห้องสมุด
2. ห้องอินเตอร์เน็ตในโรงเรียน
วัดและประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
3. การทำแบบทดสอบ
4. การสร้างผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพร
1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและศึกษาสมุนไพรชาวกะเหรี่ยงที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
2. นักเรียนสร้างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรได้อย่างน้อย 1 ชนิด
เนื้อหาสาระ
1. สมุนไพรชาวกะเหรี่ยง
2. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสมุนไพร
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
2. ครูนำพืชสมุนไพรบางชนิดมาให้นักเรียนศึกษา
3. นักเรียนช่วยกันแยกพืชสมุนไพรออกเป็นประเภทต่าง ๆ โดยจัดเป็นกลุ่ม ๆ ของพืชสมุนไพร
4.สุ่มนักเรียน 5 คนในห้องออกมาอภิปรายเกี่ยวกับประโยชน์ของพืชสมุนไพร
ขั้นกิจกรรม
1. นักเรียนแบ่งกลุ่มละ4 คน เพื่อศึกษาพืชสมุนไพรในหมู่บ้านกะเหรี่ยงที่ตนอาศัยอยู่อย่างน้อยกลุ่มละ 20 ชนิด
2. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพืชสมุนไพรจากห้องสมุดหรือทางอินเตอร์เน็ต
3. นักเรียนทุกกลุ่มนำเสนอผลงานจากการศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพืชสมุนไพรหน้าชั้นเรียน
4. นักเรียนทุกกลุ่มนำเสนอผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรกลุ่มละ 1 ชนิด
5. นักเรียนชมผลงานผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรจากกลุ่มอื่น ๆ
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพืชสมุนไพรที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวันของชาวกะเหรี่ยง
2. นักเรียนแสดงผลงานผลิตภัณฑ์ของพืชสมุนไพรกลุ่มละ 1 ชนิด
แหล่งการเรียนรู้
1. สือบุคคล
-ชาวกะเหรี่ยงในอำเภอสวนผึ้ง
2. สื่อเอกสาร
-หนังสือพืชสมุนไพร
-แบบสอบถามเกี่ยวกับพืชสมุนไพร
-เครื่องมือประเมินผล
3. สื่อสถานที่
-หมู่บ้านชาวกะเหรี่ยง
-หมู่บ้านนักเรียนที่มีชาวกะเหรี่ยงอาศัยอยู่
-ศูนย์ศึกษาพันธุ์ไม้ป่าสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
4. สื่อ ICT
-ห้องอินเตอร์เน็ตในโรงเรียน
แหล่งเรียนรู้
1. ห้องสมุด
2. ห้องอินเตอร์เน็ตในโรงเรียน
วัดและประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
3. การทำแบบทดสอบ
4. การสร้างผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพร
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของชาวกระเหรี่ยง
2. สำรวจข้อมูลหมู่บ้านเศรษฐกิจ วิถีชีวิต ชาวกระเหรี่ยงท้องถิ่นได้
3. อธิบายรายละเอียดขั้นตอนการปฎิบัติตามประเพณีที่สำคัญได้
4. สำรวจความเชื่อในชุมชนกะเหรี่ยงได้
สาระการเรียนรู้
1. ประวัติความเป็นมาของชาวกะเหรี่ยง
2. หมู่บ้านชาวกะเหรี่ยงในปัจจุบัน
3. ประเพณีศิลปวัฒนธรรมชาวกะเหรี่ยง
4. ความเชื่อของชาวกะเหรี่ยง
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำ
ชวนนักเรียนสนทนาและตอบคำถามเรื่องชาวเขาในประเทศไทยว่ามีกลุ่มใดบ้าง แล้วให้นักเรียนทบทวนและตอบคำถามต่อไปนี้
-ชาวเขากลุ่มใดมีมากที่สุดในประเทศไทย
-จังหวัดราชบุรีมีชาวเขาหรือไม่
-ชาวกระเหรี่ยงที่สวนผึ้งเป็นชาวเขาหรือไม่
ขั้นสอน
1.แบ่งกลุ่มนักเรียนเลือกหัวข้อเรื่อง ศิลปวัฒนธรรมประเพณีชาวกระเหรี่ยงดังตัวอย่างละ1เรื่อง
-ประวัติความเป็นมาของกระเหรี่ยง
-ประเพณีที่สำคัญ
-สำรวจชุมชนหมู่บ้านกระเหรี่ยง
-วิถีชีวิต
-พิธีรับขวัญวันกินข้าวห่อ
-ความเชื่อ
2.แจกใบความรู้เรื่อง การศึกษาสำรวจโดยใช้วิธีโครงงาน
3.ครูให้แนวคิดรู้เรื่องการศึกษาโครงงานและดำเนินงานกลุ่มก่อนลงภาคสนาม(ใบความรู้เรื่องหลักการสัมภาษณ์ การสำรวจข้อมูล การเก็บข้อมูล)
4.ให้นักเรียนเตรียมวางแผนไปศึกษาข้อมูลแบ่งงานและเตรียมเสนอแผนการดำเนินงานโดยใช้ผังความคิด
5.นักเรียนออกสำรวจพื้นที่เก็บข้อมูลวันหยุดเสาร์-อาทิตย์และสรุปวิเคราะห์ข้อมูล
6.นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมพาเวอร์พอย์ด รายงานโครงงานแผ่นพับ
7.ครูเพิ่มเติมและกล่าวชื่นชมผลงานนักเรียน
8.ประเมินผลโดยให้เพื่อนให้คะแนนกลุ่มอื่นๆและสมาชิกประเมินกลุ่มตนเอง ครูประเมินผลงานกลุ่ม
ขั้นสรุป
สนทนานักเรียนเรื่องรู้จักชุมชนชาวกระเหรี่ยงมากขึ้นหรือยังครูสรุปให้นักเรียนเข้าใจตรงกันว่าชาวกระเหรี่ยงก็เป็นคนไทย แต่มีวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของตนเองสมควรที่เราจะได้เรียนรู้แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันและกัน
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1.ใบความรู้เรื่อง การศึกษาโดยวิธีโครงงาน
2.ใบความรู้เรื่อง หลักการสัมภาษณ์
3.แหล่งเรียนรู้ชุมนุมกระเหรี่ยง 6 หมู่บ้าน
4.บุคลแห่งการเรียนรู้ในชุมชนสวนผึ้ง
การประเมินผลการเรียนรู้
1.สิ่งที่ประเมิน
-ความรู้เรื่อง 1.เนื้อหาสาระ 2.ขั้นตอนทำโครงงาน 3.นำเสนอโครงงาน
-ประเมินการทำงานกลุ่ม
2.วิธีการประเมิน
-ทดสอบ
-สังเกต
3.เครื่องมือประเมิน
-แบบประเมินผลงานกลุ่ม
-แบบประเมินตนเอง
-แบบทดสอบ
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของชาวกระเหรี่ยง
2. สำรวจข้อมูลหมู่บ้านเศรษฐกิจ วิถีชีวิต ชาวกระเหรี่ยงท้องถิ่นได้
3. อธิบายรายละเอียดขั้นตอนการปฎิบัติตามประเพณีที่สำคัญได้
4. สำรวจความเชื่อในชุมชนกะเหรี่ยงได้
สาระการเรียนรู้
1. ประวัติความเป็นมาของชาวกะเหรี่ยง
2. หมู่บ้านชาวกะเหรี่ยงในปัจจุบัน
3. ประเพณีศิลปวัฒนธรรมชาวกะเหรี่ยง
4. ความเชื่อของชาวกะเหรี่ยง
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำ
ชวนนักเรียนสนทนาและตอบคำถามเรื่องชาวเขาในประเทศไทยว่ามีกลุ่มใดบ้าง แล้วให้นักเรียนทบทวนและตอบคำถามต่อไปนี้
-ชาวเขากลุ่มใดมีมากที่สุดในประเทศไทย
-จังหวัดราชบุรีมีชาวเขาหรือไม่
-ชาวกระเหรี่ยงที่สวนผึ้งเป็นชาวเขาหรือไม่
ขั้นสอน
1.แบ่งกลุ่มนักเรียนเลือกหัวข้อเรื่อง ศิลปวัฒนธรรมประเพณีชาวกระเหรี่ยงดังตัวอย่างละ1เรื่อง
-ประวัติความเป็นมาของกระเหรี่ยง
-ประเพณีที่สำคัญ
-สำรวจชุมชนหมู่บ้านกระเหรี่ยง
-วิถีชีวิต
-พิธีรับขวัญวันกินข้าวห่อ
-ความเชื่อ
2.แจกใบความรู้เรื่อง การศึกษาสำรวจโดยใช้วิธีโครงงาน
3.ครูให้แนวคิดรู้เรื่องการศึกษาโครงงานและดำเนินงานกลุ่มก่อนลงภาคสนาม(ใบความรู้เรื่องหลักการสัมภาษณ์ การสำรวจข้อมูล การเก็บข้อมูล)
4.ให้นักเรียนเตรียมวางแผนไปศึกษาข้อมูลแบ่งงานและเตรียมเสนอแผนการดำเนินงานโดยใช้ผังความคิด
5.นักเรียนออกสำรวจพื้นที่เก็บข้อมูลวันหยุดเสาร์-อาทิตย์และสรุปวิเคราะห์ข้อมูล
6.นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมพาเวอร์พอย์ด รายงานโครงงานแผ่นพับ
7.ครูเพิ่มเติมและกล่าวชื่นชมผลงานนักเรียน
8.ประเมินผลโดยให้เพื่อนให้คะแนนกลุ่มอื่นๆและสมาชิกประเมินกลุ่มตนเอง ครูประเมินผลงานกลุ่ม
ขั้นสรุป
สนทนานักเรียนเรื่องรู้จักชุมชนชาวกระเหรี่ยงมากขึ้นหรือยังครูสรุปให้นักเรียนเข้าใจตรงกันว่าชาวกระเหรี่ยงก็เป็นคนไทย แต่มีวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของตนเองสมควรที่เราจะได้เรียนรู้แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันและกัน
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1.ใบความรู้เรื่อง การศึกษาโดยวิธีโครงงาน
2.ใบความรู้เรื่อง หลักการสัมภาษณ์
3.แหล่งเรียนรู้ชุมนุมกระเหรี่ยง 6 หมู่บ้าน
4.บุคลแห่งการเรียนรู้ในชุมชนสวนผึ้ง
การประเมินผลการเรียนรู้
1.สิ่งที่ประเมิน
-ความรู้เรื่อง 1.เนื้อหาสาระ 2.ขั้นตอนทำโครงงาน 3.นำเสนอโครงงาน
-ประเมินการทำงานกลุ่ม
2.วิธีการประเมิน
-ทดสอบ
-สังเกต
3.เครื่องมือประเมิน
-แบบประเมินผลงานกลุ่ม
-แบบประเมินตนเอง
-แบบทดสอบ
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1 ออกแบบและวางโครงร่างการนำเสนอได้
2 อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบบนหน้าต่างหลักของโปรแกรมนำเสนอข้อมูลได้
3 สร้างสไลด์นำเสนองาน ตกแต่ง แก้ไขข้อมูลในสไลด์และบันทึกสไลด์ที่สร้างขึ้นได้
4 เลือกใช้งานสไลด์ในมุมมองต่าง ๆ ได้
5 กำหนดลักษณะพิเศษเพื่อเพิ่มความสนใจในสไลด์ได้
6 สร้างเอกสารประกอบการบรรยายด้วยโปรแกรมนำเสนอข้อมูลได้
สาระการเรียนรู้
1 ส่วนประกอบของโปรแกรมไมโครชอฟต์เพาเวอร์พอยต์
2 คำสั่งต่างฯของโปรแกรมไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์
3 เทคนิคการสร้างงานเสนอ
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. เตรียมใบงานและใบความรู้เท่าจำนวนนักเรียน
2. ตรวจเช็คความพร้อมของเครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องปฏิบัติการ
3. งานนำเสนอข้อมูลชุด นิทานก่อนนอน
4. อุปกรณ์สำหรับแบ่งกลุ่มผู้เรียน
ขั้นสอน
1. ครูนำเข้าสู่โดยการนำเสนอนิทานก่อนนอน ซึ่งงานนำเสนอที่สร้างโดยโปรแกรมไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์ เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นความสามารถของโปรแกรมนี้
2. แนะนำจุดประสงค์ของกิจกรรมนี้ ซึ่งจะแนะนำให้รู้จักเครื่องมือที่จะช่วยในการสร้างงานนำเสนอที่น่าสนใจ
3. แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยดำเนินการแบ่งกลุ่มจากประสบการณ์การใช้โปรแกรมไมโครเพาเวอร์พอยต์ที่ผู้เรียนกรอกใบงานจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยให้แต่ละกลุ่มมีผู้เรียนที่มีประสบการณ์อย่างน้อย 1 คน
4. ให้แต่ละกลุ่มทำกิจกรรมดังนี้
กลุ่มที่ 1 ศึกษาข้อมูลเรื่อง กระเหรี่ยง จากห้องสมุด
กลุ่มที่ 2 ศึกษาข้อมูลเรื่อง กระเหรี่ยง จากอินเตอร์เน็ต
กลุ่มที่ 3 ศึกษาข้อมูลเรื่อง กระเหรี่ยง จากบุคคลชาวกระเหรี่ยง
กลุ่มที่ 4 ศึกษาข้อมูลเรื่อง กระเหรี่ยง จากใบความรู้
5. แจกใบงานให้ผู้เรียนทำใบงาน โดยผู้สอนคอยดูแลตอบข้อสงสัย ให้สอบถามผู้สอนทำงานกลุ่มกระตุ้นการเรียนรู้และเปรียบเทียบความเหมือนและแต่ต่างระหว่างโปรแกรมนี้แหละโปรแกรมประมวณคำที่เรียนผ่านมา
ขั้นสรุป
สุ่มผู้เรียนเฉลยคำตอบใบงานโดยเน้นการเปรียบเทียบการทำงานของรายการเลือกและสัญรูปต่างๆในโปรแกรมประมวลคำ
สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
1. ใบความรู้เรื่อง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
2. ใบงานเรื่อง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
3. หนังสือแบบเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ รายวิชางานกราฟิกและการนำเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ของสสวท.
4. เว็บไซต์ oho.ipst.ac.th
วัดประเมินผลการเรียนรู้
1. ตรวจคำตอบจากใบงาน
2. ตรวจจากใบประเมินผลการนำเสนองาน
3. ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานของผู้เรียนรายคน
4. ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานของผู้เรียนรายกลุ่ม
5. ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานของผู้เรียนรายกลุ่มของเพื่อนกลุ่มอื่น
6. แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
7. สังเกตความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานของนักเรียน
8. ใช้แบบทดสอบการใช้งานโปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
1 ออกแบบและวางโครงร่างการนำเสนอได้
2 อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบบนหน้าต่างหลักของโปรแกรมนำเสนอข้อมูลได้
3 สร้างสไลด์นำเสนองาน ตกแต่ง แก้ไขข้อมูลในสไลด์และบันทึกสไลด์ที่สร้างขึ้นได้
4 เลือกใช้งานสไลด์ในมุมมองต่าง ๆ ได้
5 กำหนดลักษณะพิเศษเพื่อเพิ่มความสนใจในสไลด์ได้
6 สร้างเอกสารประกอบการบรรยายด้วยโปรแกรมนำเสนอข้อมูลได้
สาระการเรียนรู้
1 ส่วนประกอบของโปรแกรมไมโครชอฟต์เพาเวอร์พอยต์
2 คำสั่งต่างฯของโปรแกรมไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์
3 เทคนิคการสร้างงานเสนอ
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. เตรียมใบงานและใบความรู้เท่าจำนวนนักเรียน
2. ตรวจเช็คความพร้อมของเครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องปฏิบัติการ
3. งานนำเสนอข้อมูลชุด นิทานก่อนนอน
4. อุปกรณ์สำหรับแบ่งกลุ่มผู้เรียน
ขั้นสอน
1. ครูนำเข้าสู่โดยการนำเสนอนิทานก่อนนอน ซึ่งงานนำเสนอที่สร้างโดยโปรแกรมไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์ เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นความสามารถของโปรแกรมนี้
2. แนะนำจุดประสงค์ของกิจกรรมนี้ ซึ่งจะแนะนำให้รู้จักเครื่องมือที่จะช่วยในการสร้างงานนำเสนอที่น่าสนใจ
3. แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยดำเนินการแบ่งกลุ่มจากประสบการณ์การใช้โปรแกรมไมโครเพาเวอร์พอยต์ที่ผู้เรียนกรอกใบงานจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยให้แต่ละกลุ่มมีผู้เรียนที่มีประสบการณ์อย่างน้อย 1 คน
4. ให้แต่ละกลุ่มทำกิจกรรมดังนี้
กลุ่มที่ 1 ศึกษาข้อมูลเรื่อง กระเหรี่ยง จากห้องสมุด
กลุ่มที่ 2 ศึกษาข้อมูลเรื่อง กระเหรี่ยง จากอินเตอร์เน็ต
กลุ่มที่ 3 ศึกษาข้อมูลเรื่อง กระเหรี่ยง จากบุคคลชาวกระเหรี่ยง
กลุ่มที่ 4 ศึกษาข้อมูลเรื่อง กระเหรี่ยง จากใบความรู้
5. แจกใบงานให้ผู้เรียนทำใบงาน โดยผู้สอนคอยดูแลตอบข้อสงสัย ให้สอบถามผู้สอนทำงานกลุ่มกระตุ้นการเรียนรู้และเปรียบเทียบความเหมือนและแต่ต่างระหว่างโปรแกรมนี้แหละโปรแกรมประมวณคำที่เรียนผ่านมา
ขั้นสรุป
สุ่มผู้เรียนเฉลยคำตอบใบงานโดยเน้นการเปรียบเทียบการทำงานของรายการเลือกและสัญรูปต่างๆในโปรแกรมประมวลคำ
สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
1. ใบความรู้เรื่อง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
2. ใบงานเรื่อง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
3. หนังสือแบบเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ รายวิชางานกราฟิกและการนำเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ของสสวท.
4. เว็บไซต์ oho.ipst.ac.th
วัดประเมินผลการเรียนรู้
1. ตรวจคำตอบจากใบงาน
2. ตรวจจากใบประเมินผลการนำเสนองาน
3. ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานของผู้เรียนรายคน
4. ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานของผู้เรียนรายกลุ่ม
5. ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานของผู้เรียนรายกลุ่มของเพื่อนกลุ่มอื่น
6. แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
7. สังเกตความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานของนักเรียน
8. ใช้แบบทดสอบการใช้งานโปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
มีความรู้ความเข้าใจ ในการศึกษาลายผ้า โดยมีส่วนประกอบเป็นรูปทรงเรขาคณิต เช่น รูปสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม และการหาพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
สาระการเรียนรู้
ศึกษาลายผ้ากะเหรี่ยง
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ซักถามนักเรียนเกี่ยวกับชุดพื้นเมืองของชาวกะเหรี่ยง
2. ซักถามเกี่ยวกับลายที่นำมาทอเป็นชุดของกะเหรี่ยง
ขั้นสอน
1. ให้นักเรียนค้นคว้าลายผ้าของชุดกะเหรี่ยงว่ามีแบบใดบ้าง
2. ให้นักเรียนศึกษาลายผ้าของชุดกะเหรี่ยงว่าประกอบไปด้วยรูปเรขาคณิตใดบ้าง
3. ให้นักเรียนหาพื้นที่ของลายแต่ละลายว่าได้เท่าใดบ้าง
ขั้นสรุป
ให้นักเรียนช่วยกันสรุปถึงประโยชน์ของการหาพื้นที่ลายผ้า
สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
1.ในเวปไซต์ของอำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
2. ในหมู่บ้าน หรือ ตามญาติพี่น้อง ผู้สูงอายุ
การวัดประเมินผลการเรียนรู้
ความถูกต้องจากการคิดคำนวณ
การแสดงวิธีทำการหาพื้นที่ของลายผ้า
การแสดงความคิดเห็นจากเพื่อนในห้องเรียน
มีความรู้ความเข้าใจ ในการศึกษาลายผ้า โดยมีส่วนประกอบเป็นรูปทรงเรขาคณิต เช่น รูปสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม และการหาพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
สาระการเรียนรู้
ศึกษาลายผ้ากะเหรี่ยง
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ซักถามนักเรียนเกี่ยวกับชุดพื้นเมืองของชาวกะเหรี่ยง
2. ซักถามเกี่ยวกับลายที่นำมาทอเป็นชุดของกะเหรี่ยง
ขั้นสอน
1. ให้นักเรียนค้นคว้าลายผ้าของชุดกะเหรี่ยงว่ามีแบบใดบ้าง
2. ให้นักเรียนศึกษาลายผ้าของชุดกะเหรี่ยงว่าประกอบไปด้วยรูปเรขาคณิตใดบ้าง
3. ให้นักเรียนหาพื้นที่ของลายแต่ละลายว่าได้เท่าใดบ้าง
ขั้นสรุป
ให้นักเรียนช่วยกันสรุปถึงประโยชน์ของการหาพื้นที่ลายผ้า
สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
1.ในเวปไซต์ของอำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
2. ในหมู่บ้าน หรือ ตามญาติพี่น้อง ผู้สูงอายุ
การวัดประเมินผลการเรียนรู้
ความถูกต้องจากการคิดคำนวณ
การแสดงวิธีทำการหาพื้นที่ของลายผ้า
การแสดงความคิดเห็นจากเพื่อนในห้องเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ กลุ่มสาระศิลป
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. มีความรู้ความเข้าใจในท่ารำแม่บทกะเหรี่ยง
2. นำไปใช้เรื่องท่ารำได้อย่างถูกต้อง
3. นำไปแสดงในงานพิธีต่าง ๆ ของประเพณีวัฒนธรรมได้
สาระการเรียนรู้
1. รำแม่บทได้อย่างน้อย 4 ท่ารำ
2. รำในงานสู่ขวัญ เรียกขวัญ
3. เล่นดนตรีประกอบท่ารำได้อย่างน้อย 1 เครื่อง
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ถามนักเรียนว่าเคยได้เห็นการรำในภาคต่าง ๆ หรือไม่เช่นในภาคอีสานมีเซิ้ง ภาคเหนือมีฟ้อน ภาคใต้มีหนังตะลุง ภาคกลางมีเพลงเกี่ยวข้าว รำตัด แล้วของชาวไทยภูเขากะเหรี่ยงมีการแสดงรำกะเหรี่ยงและเปิดเพลงในแต่ละภาคให้นักเรียนฟัง
ขั้นสอน
2. ครูเปิดเพลงชาวกะเหรี่ยง แล้วให้นักเรียนแบ่งกลุ่มฝึกท่ารำตามแม่บท โดยครูเปิดวีดีทัศน์ประกอบการสอนให้นักเรียนรำตาม โดยดูทีละท่า แล้วให้ฝึกรำพร้อมกัน อาจแบ่งเด็กเป็นกลุ่มที่รำแล้วเป็นกลุ่มนำ ใหกลุ่มที่รำไม่เป็นทำตามไปที่ละท่าอย่างช้า ๆ
ขั้นสรุป
3. นักเรียนในแต่ละกลุ่มทำตามท่ารำได้ โดยมีข้อซักถามในท่ารำที่ไม่เข้าใจ ในท่ารำพื้นฐานท่าที่ 1-2 นักเรียนทำตามได้ แต่ในท่ารำที่ยากเพิ่มขึ้น จะมีนักเรียนในกลุ่มที่รำได้อยู่ก่อนแล้วที่ทำได้
การประเมิน
1. ครูสังเกตนักเรียนให้ความร่วมมือในการรำมากน้อยเท่าไร
2. ใช้แบบประเมินในแต่ละท่ารำ
3. ประเมินในด้านความรู้นักเรียนร้อยละ 80 ในแต่ละท่ารำ
4. ประเมินนักเรียนร้อยละ 80 เห็นคุณค่าความสำคัญของประเพณีรำกะเหรี่ยง
5. ประเมินนักเรียนร้อยละ 70 รำได้อย่างถูกต้อง มีผิดและแก้ไขไปบ้างแล้ว
สื่อแหล่งเรียนรู้ ICT
1. สื่อบุคคลเชิญวิทยากรท้องถิ่นมารำสาธิตให้นักเรียนดู
2. สื่อสถานที่ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มไปเยี่ยมชมหมู่บ้านกะเหรี่ยง
3. สื่อวัตถุ/เอกสาร ใบงานและแบบประเมินผลท่ารำหนังสือท่ารำแม่บทของแต่ละหมู่บ้านกะเหรี่ยง
4. สื่อ ICT วีดิทัศน์ ประกอบท่ารำกะเหรี่ยง
5. ซีดี เพลงพื้นเมืองการรำกะเหรี่ยง
1. มีความรู้ความเข้าใจในท่ารำแม่บทกะเหรี่ยง
2. นำไปใช้เรื่องท่ารำได้อย่างถูกต้อง
3. นำไปแสดงในงานพิธีต่าง ๆ ของประเพณีวัฒนธรรมได้
สาระการเรียนรู้
1. รำแม่บทได้อย่างน้อย 4 ท่ารำ
2. รำในงานสู่ขวัญ เรียกขวัญ
3. เล่นดนตรีประกอบท่ารำได้อย่างน้อย 1 เครื่อง
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ถามนักเรียนว่าเคยได้เห็นการรำในภาคต่าง ๆ หรือไม่เช่นในภาคอีสานมีเซิ้ง ภาคเหนือมีฟ้อน ภาคใต้มีหนังตะลุง ภาคกลางมีเพลงเกี่ยวข้าว รำตัด แล้วของชาวไทยภูเขากะเหรี่ยงมีการแสดงรำกะเหรี่ยงและเปิดเพลงในแต่ละภาคให้นักเรียนฟัง
ขั้นสอน
2. ครูเปิดเพลงชาวกะเหรี่ยง แล้วให้นักเรียนแบ่งกลุ่มฝึกท่ารำตามแม่บท โดยครูเปิดวีดีทัศน์ประกอบการสอนให้นักเรียนรำตาม โดยดูทีละท่า แล้วให้ฝึกรำพร้อมกัน อาจแบ่งเด็กเป็นกลุ่มที่รำแล้วเป็นกลุ่มนำ ใหกลุ่มที่รำไม่เป็นทำตามไปที่ละท่าอย่างช้า ๆ
ขั้นสรุป
3. นักเรียนในแต่ละกลุ่มทำตามท่ารำได้ โดยมีข้อซักถามในท่ารำที่ไม่เข้าใจ ในท่ารำพื้นฐานท่าที่ 1-2 นักเรียนทำตามได้ แต่ในท่ารำที่ยากเพิ่มขึ้น จะมีนักเรียนในกลุ่มที่รำได้อยู่ก่อนแล้วที่ทำได้
การประเมิน
1. ครูสังเกตนักเรียนให้ความร่วมมือในการรำมากน้อยเท่าไร
2. ใช้แบบประเมินในแต่ละท่ารำ
3. ประเมินในด้านความรู้นักเรียนร้อยละ 80 ในแต่ละท่ารำ
4. ประเมินนักเรียนร้อยละ 80 เห็นคุณค่าความสำคัญของประเพณีรำกะเหรี่ยง
5. ประเมินนักเรียนร้อยละ 70 รำได้อย่างถูกต้อง มีผิดและแก้ไขไปบ้างแล้ว
สื่อแหล่งเรียนรู้ ICT
1. สื่อบุคคลเชิญวิทยากรท้องถิ่นมารำสาธิตให้นักเรียนดู
2. สื่อสถานที่ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มไปเยี่ยมชมหมู่บ้านกะเหรี่ยง
3. สื่อวัตถุ/เอกสาร ใบงานและแบบประเมินผลท่ารำหนังสือท่ารำแม่บทของแต่ละหมู่บ้านกะเหรี่ยง
4. สื่อ ICT วีดิทัศน์ ประกอบท่ารำกะเหรี่ยง
5. ซีดี เพลงพื้นเมืองการรำกะเหรี่ยง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการออกกำลังกาย เกม และการละเล่นยามว่างของชาวกะเหรี่ยง
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบบ่อย และมีทักษะในการป้องกันโรค
สะระการเรียนรู้
1. การออกกำลังกาย เกม และการละเล่นยามว่างของชาวกะเหรี่ยง
2. โรคที่พบบ่อย ในชุมชนชาวกะเหรี่ยง
กระบวนการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นนำ
1. สำรวจรายชื่อ เครื่องแต่งกาย
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 6 กลุ่มเท่า ๆ กัน
3. อบอุ่นร่างกายโดยการวิ่งเหยาะ ๆ แล้วทำกายบริหารโดยให้นักเรียนแต่ละกุล่มส่งตัวแทนมานำกลุ่มละ 3 ท่า
4. ทดสอบก่อนเรียน
5. แจ้งสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขั้นสอน
1. ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ว่า ชาวกะเหรี่ยงมีการออกกำลังกาย เกม และการละเล่นอะไรบ้าง
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำกิจกรรมในข้อ 1 บันทึกลงในสมุด
3. ให้แต่ละกลุ่มสาธิต พร้อมอภิปราย เกี่ยวกับการออกกำลังกาย เกม และการละเล่นของชาวกะเหรี่ยง
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุป ซักถาม
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไปสืบค้นเกี่ยวกับการออกกำลังกาย เกม และการละเล่นของชาวกะเหรี่ยง จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน วิทยากรท้องถิ่น เพิ่มเติม และนำเสนอในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นนำ
1. สำรวจรายชื่อ เครื่องแต่งกาย
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 6 กลุ่มเท่า ๆ กัน
3. อบอุ่นร่างกายโดยการวิ่งเหยาะ ๆ แล้วทำกายบริหารโดยให้นักเรียนแต่ละกุล่มส่งตัวแทนมานำกลุ่มละ 3 ท่า
4. ทดสอบก่อนเรียน
5. แจ้งสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขั้นสอน
1. ครูและนักเรียนทบทวนเนื้อหาในชั่วโมงเรียนที่ผ่านมา
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม สาธิต การออกกำลังกาย เกม และการละเล่นยามว่างของชาวกะเหรี่ยงเพิ่มเติมจากการไปสืบค้นจากแหล่งการเรียนรู้ในชุมชน
ขั้นสรุป
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ วิจารณ์ เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
2. นัดหมายการเรียนในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ 3
ขั้นนำ
1. สำรวจรายชื่อ เครื่องแต่งกาย
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 6 กลุ่มเท่า ๆ กัน
3. อบอุ่นร่างกายโดยการวิ่งเหยาะ ๆ แล้วทำกายบริหารโดยให้นักเรียนแต่ละกุล่มส่งตัวแทนมานำกลุ่มละ 3 ท่า
4. ทดสอบก่อนเรียน
5. แจ้งสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขั้นสอน
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันค้นคว้าเกี่ยวกับโรคต่าง ๆ กลุ่มละ 1 โรค โดยกำหนดหัวข้อต่อไปนี้
1.1 สาเหตุของโรค
1.2 อาการของโรค
1.3 วิธีป้องกันรักษา
2. ให้นักเรียนนำเสนอหน้าชั้นเรียน 3 กลุ่ม
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ วิจารณ์ เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
2. นัดหมายการเรียนในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ 4
ขั้นนำ
1. สำรวจรายชื่อ เครื่องแต่งกาย
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 6 กลุ่มเท่า ๆ กัน
3. อบอุ่นร่างกายโดยการวิ่งเหยาะ ๆ แล้วทำกายบริหารโดยให้นักเรียนแต่ละกุล่มส่งตัวแทนมานำกลุ่มละ 3 ท่า
4. ทดสอบก่อนเรียน
5. แจ้งสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขั้นสอน
1. ให้นักเรียนกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ วิจารณ์ เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
2. ทำแบบทดสอบหลังเรียน
การประเมินผล
1. ผลการปฏิบัติ
2. ความรู้ความเข้าใจ
3. กระบวนการกลุ่ม
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนสุขศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
3. วิทยากรท้องถิ่น
1. มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการออกกำลังกาย เกม และการละเล่นยามว่างของชาวกะเหรี่ยง
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบบ่อย และมีทักษะในการป้องกันโรค
สะระการเรียนรู้
1. การออกกำลังกาย เกม และการละเล่นยามว่างของชาวกะเหรี่ยง
2. โรคที่พบบ่อย ในชุมชนชาวกะเหรี่ยง
กระบวนการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นนำ
1. สำรวจรายชื่อ เครื่องแต่งกาย
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 6 กลุ่มเท่า ๆ กัน
3. อบอุ่นร่างกายโดยการวิ่งเหยาะ ๆ แล้วทำกายบริหารโดยให้นักเรียนแต่ละกุล่มส่งตัวแทนมานำกลุ่มละ 3 ท่า
4. ทดสอบก่อนเรียน
5. แจ้งสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขั้นสอน
1. ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ว่า ชาวกะเหรี่ยงมีการออกกำลังกาย เกม และการละเล่นอะไรบ้าง
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำกิจกรรมในข้อ 1 บันทึกลงในสมุด
3. ให้แต่ละกลุ่มสาธิต พร้อมอภิปราย เกี่ยวกับการออกกำลังกาย เกม และการละเล่นของชาวกะเหรี่ยง
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุป ซักถาม
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไปสืบค้นเกี่ยวกับการออกกำลังกาย เกม และการละเล่นของชาวกะเหรี่ยง จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน วิทยากรท้องถิ่น เพิ่มเติม และนำเสนอในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นนำ
1. สำรวจรายชื่อ เครื่องแต่งกาย
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 6 กลุ่มเท่า ๆ กัน
3. อบอุ่นร่างกายโดยการวิ่งเหยาะ ๆ แล้วทำกายบริหารโดยให้นักเรียนแต่ละกุล่มส่งตัวแทนมานำกลุ่มละ 3 ท่า
4. ทดสอบก่อนเรียน
5. แจ้งสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขั้นสอน
1. ครูและนักเรียนทบทวนเนื้อหาในชั่วโมงเรียนที่ผ่านมา
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม สาธิต การออกกำลังกาย เกม และการละเล่นยามว่างของชาวกะเหรี่ยงเพิ่มเติมจากการไปสืบค้นจากแหล่งการเรียนรู้ในชุมชน
ขั้นสรุป
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ วิจารณ์ เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
2. นัดหมายการเรียนในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ 3
ขั้นนำ
1. สำรวจรายชื่อ เครื่องแต่งกาย
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 6 กลุ่มเท่า ๆ กัน
3. อบอุ่นร่างกายโดยการวิ่งเหยาะ ๆ แล้วทำกายบริหารโดยให้นักเรียนแต่ละกุล่มส่งตัวแทนมานำกลุ่มละ 3 ท่า
4. ทดสอบก่อนเรียน
5. แจ้งสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขั้นสอน
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันค้นคว้าเกี่ยวกับโรคต่าง ๆ กลุ่มละ 1 โรค โดยกำหนดหัวข้อต่อไปนี้
1.1 สาเหตุของโรค
1.2 อาการของโรค
1.3 วิธีป้องกันรักษา
2. ให้นักเรียนนำเสนอหน้าชั้นเรียน 3 กลุ่ม
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ วิจารณ์ เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
2. นัดหมายการเรียนในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ 4
ขั้นนำ
1. สำรวจรายชื่อ เครื่องแต่งกาย
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 6 กลุ่มเท่า ๆ กัน
3. อบอุ่นร่างกายโดยการวิ่งเหยาะ ๆ แล้วทำกายบริหารโดยให้นักเรียนแต่ละกุล่มส่งตัวแทนมานำกลุ่มละ 3 ท่า
4. ทดสอบก่อนเรียน
5. แจ้งสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขั้นสอน
1. ให้นักเรียนกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ วิจารณ์ เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
2. ทำแบบทดสอบหลังเรียน
การประเมินผล
1. ผลการปฏิบัติ
2. ความรู้ความเข้าใจ
3. กระบวนการกลุ่ม
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนสุขศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
3. วิทยากรท้องถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเพณีกินข้าวห่อของชาวกะเหรี่ยงเป็นภาษาอังกฤษได้
2. สามารถบอกคำศัพท์ที่เป็นภาษาอังกฤษ เกี่ยวกับวัฒนธรรมการแต่งกายของชาวกะเหรี่ยงได้
สาระการเรียนรู้
1. ประเพณี
2. วัฒนธรรม
3. คำศัพท์
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับประเพณีและเทศกาลต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน
2. ให้นักเรียนสนทนาเกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่นว่ามีอะไรบ้างที่นักเรียนพบเห็นแล้วช่วยกันสรุปเป็นข้อ ๆ
ขั้นสอน
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งกลุ่มเท่า ๆ กัน
2. ให้นักเรียนระดมความคิดแล้วสรุปหัวข้อต่าง ๆ ลงไปในใบงานที่ 1 แล้วส่งตัวแทนออกมาอภิปรายหน้าชั้นเรียน
3. ครูนำรูปเกี่ยวกับขั้นตอนของประเพณีกินข้าวห่อของชาวกะเหรี่ยงมาให้นักเรียนดูและอธิบายคำศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับขั้นตอนของประเพณีและเครื่องแต่งกายของชาวกะเหรี่ยง
4. ให้นักเรียนไปสอบถามประเพณีการกินข้าวห่อรวมถึงเครื่องแต่งกายของชาวกะเหรี่ยงในชุมชน
5. ให้นักเรียนจัดกลุ่มระดมความคิดแล้วสรุปลงในใบงานที่ 2 และส่งตัวแทนมาอภิปรายหน้าชั้น
6. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนเรื่องประเพณีการกินข้าวห่อ การแต่งกายของชาวกะเหรี่ยงเป็นภาษาอังกฤษในใบงานที่ 3
7. ให้นักเรียนมาอภิปรายหน้าชั้นเป็นภาษาอังกฤษ
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเพณีการกินข้าวห่อ และเครื่องแต่งกายทั้งภาษาไทยและกะเหรี่ยง
ขั้นประเมินผล
1. ประเมินจากใบงาน
2.ประเมินจากการสังเกตการณ์เรียน
สื่อการเรียนการสอน
1. รูปภาพประเพณีกินข้าวห่อ
2. ชุดเครื่องแต่งกาย
3. บุคลากรท้องถิ่น
การประเมินผล
1. การทำงานกลุ่ม
2. การพูด การเขียน
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเพณีกินข้าวห่อของชาวกะเหรี่ยงเป็นภาษาอังกฤษได้
2. สามารถบอกคำศัพท์ที่เป็นภาษาอังกฤษ เกี่ยวกับวัฒนธรรมการแต่งกายของชาวกะเหรี่ยงได้
สาระการเรียนรู้
1. ประเพณี
2. วัฒนธรรม
3. คำศัพท์
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับประเพณีและเทศกาลต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน
2. ให้นักเรียนสนทนาเกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่นว่ามีอะไรบ้างที่นักเรียนพบเห็นแล้วช่วยกันสรุปเป็นข้อ ๆ
ขั้นสอน
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งกลุ่มเท่า ๆ กัน
2. ให้นักเรียนระดมความคิดแล้วสรุปหัวข้อต่าง ๆ ลงไปในใบงานที่ 1 แล้วส่งตัวแทนออกมาอภิปรายหน้าชั้นเรียน
3. ครูนำรูปเกี่ยวกับขั้นตอนของประเพณีกินข้าวห่อของชาวกะเหรี่ยงมาให้นักเรียนดูและอธิบายคำศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับขั้นตอนของประเพณีและเครื่องแต่งกายของชาวกะเหรี่ยง
4. ให้นักเรียนไปสอบถามประเพณีการกินข้าวห่อรวมถึงเครื่องแต่งกายของชาวกะเหรี่ยงในชุมชน
5. ให้นักเรียนจัดกลุ่มระดมความคิดแล้วสรุปลงในใบงานที่ 2 และส่งตัวแทนมาอภิปรายหน้าชั้น
6. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนเรื่องประเพณีการกินข้าวห่อ การแต่งกายของชาวกะเหรี่ยงเป็นภาษาอังกฤษในใบงานที่ 3
7. ให้นักเรียนมาอภิปรายหน้าชั้นเป็นภาษาอังกฤษ
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเพณีการกินข้าวห่อ และเครื่องแต่งกายทั้งภาษาไทยและกะเหรี่ยง
ขั้นประเมินผล
1. ประเมินจากใบงาน
2.ประเมินจากการสังเกตการณ์เรียน
สื่อการเรียนการสอน
1. รูปภาพประเพณีกินข้าวห่อ
2. ชุดเครื่องแต่งกาย
3. บุคลากรท้องถิ่น
การประเมินผล
1. การทำงานกลุ่ม
2. การพูด การเขียน